วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

กฎหมายที่เกี่ยวชุมชนชนเเละประเทศ

กฎหมายไทยได้มีมาตรการในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของปัจเจกชนในรูปแบบต่างๆ มานานรับจากประเทศไทยได้ให้ความเห็นชอบกันปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2491 หลังจากนั้นประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนอีกหลายฉบับด้วยกัน เช่น อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก

การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ

ความล้มเหลวของระบบประชาธิปไตย โดยผู้แทนได้ส่งผลกระทบในทางลบต่อการพัฒนาการเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวิชาการจึงได้เสนอทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและจุดอ่อนของระบบประชาธิปไตยโดยผู้แทน โดยการเสนอระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมมาทดแทน หลักการสำคัญของระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมยึดหลักพื้นฐานที่ว่า ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย 



การเเลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส
1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 


สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 26 ถึง 69 ได้บรรยายขอบเขตของสิทธิเฉพาะในบางด้าน เช่น ความยุติธรรมทางอาญา การศึกษา การไม่เลือกปฏิบัติ 



ข้อตกลงระหว่างประเทศ

แผนปฏิบัติการเกี่ยวกับชั้นโอโซน
ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
ิ(United Nations Environment Programme, UNEP) ซึ่งได้จัดตั้งคณะกรรมการประสานงานเรื่องชั้นโอโซน


สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญของไทย นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ปัญหาสำคัญ
ประการหนึ่งในระบบการเมืองไทย คือ ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองประเทศ ดังจะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญทั้งโดยวิถีสันติ 



คุณลักษณะของพลเมืองดี

คุณลักษณะพลเมืองที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก
1. เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับของสังคม

การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าว




ปัญหาสังคมไทย

ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น 
สาเหตุของปัญหาสังคม 


การขัดเกลาทางสังคม

คำที่มักใช้ในความหมายเดียวกัน คือ สังคมกรณ์สังคมประกิต,การอบรมเรียนรู้ทางสังคม, การทำให้เหมาะสมแก่สังคม
คำจำกัดความ เป็นกระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยา ซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคม
ต้องการ เด็กที่เกิดมาจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอน




วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ  ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม  หรือบริบทของสังคมนั้นๆ





สิทธิมนุษยชน

เป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์ และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและ




กฎหมาย

กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม ในทุกที่ที่เป็นไปได้ กฎหมายก่อร่างการเมือง เศรษฐศาสตร์และสังคมในหลายวิถีทาง และใช้เป็นสื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม




วันอาทิตย์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2558

การปกครอง ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1. ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตย
2. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
3. ประเทศไทยเป็นเอกรัฐ ราชอาณาจักรเดียว พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ
4. อำนาจอธิปไตยซึ่งเป็นอำนาจสูงสุดของประเทศเป็นของประชาชนทั้งหลาย
5. พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขของประเทศทรงใช้อำนาจนั้น(อำนาจอธิปไตย)ผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมตรี และศาล
6. พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมือง

หลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย คือ

1. การปกครองของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน โดยการมอบอำนาจผ่านกระบวนการเลือกตั้งเลือกผู้แทนเข้าไปใช้อำนาจนั้นในสภา
2. ประชาชนมีศักดิ์และศรีความเป็นมนุษย์ มีสิทธิ มีเสรีภาพ มีความเสมอภาคทางกฎหมาย มีความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงและใช้อำนาจเพื่อปกครองตนเอง
3. ไม่ใช่ให้อำนาจปืนมาอยู่เหนือรัฐธรรมนูญ ฉีกรัฐธรรมนูญทิ้ง เขียนรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่เองได้ตามใจชอบ
4. ไม่ใช่ให้อำนาจปืนมาอยู่เหนืออำนาจอธิปไตย จัดตั้งรัฐบาลได้เองตามใจชอบ จะจัดตั้งเปิดเผยหรือแอบจัดในค่ายทหารไม่ได้ทั้งสิ้น
5. ไม่ใช่ให้ใครก็ได้แอบอ้างความจงรักภักดีเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือกำจัดประชาชนที่เห็นต่าง ใครเห็นต่างเป็นพวกไม่จงรักภักดี
6. ไม่ใช่ให้ใครก็ได้แอบอ้างความจงรักภักดีเพื่อนำไปใช้เนรเทศประชาชนที่เห็นต่าง ไม่มีบทบัญญัติใดให้อำนาจใครทำการไล่เนรเทศคนไทยออกนอกประเทศ
7. ไม่ใช่ให้ใครก็ได้แอบอ้างความจงรักภักดีเพื่อนำมาโค่นล้มรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน หรือทำการแช่แข็งประเทศ ปิดประเทศยัดเยียดผู้ปกครองมาให้
8. ไม่ใช่ให้ใครก็ได้แอบอ้างความจงรักภักดีนำมาใช้บิดเบือนหลักการของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


พลเมืองดี

2. คุณลักษณะพลเมืองดี คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย
2.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว
 ดรงเรียนชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
4.ต้องเป็นบุคคลที่มีเหตุผล
 ใจกว้าง และรับฟังความคิดเห็นของคนบุคคลอื่นเสมอ
5.ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้นที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน
 ประเทศชาติ และสังคมโลก หรือองค์กรที่ตนสังกัดอยู่ เช่น ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนและชุมชนให้ดีขึ้น เป็นต้น
7.ต้องเป็นบุคคลที่มีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทางการเมืองการปกครอง
 เช่น การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น




การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Change)

เป็นที่ยอมรับว่า สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ไม่มีอะไรคงที่ (static) มีการเคลื่อนไหว (dynamic) อยู่เสมอ สังคมและวัฒนธรรมก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน คือ เป็นพลวัตหรือไม่คงที่ แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้โครงสร้างของสังคมและวิถีการดำรงชีวิตหรือวัฒนธรรมของมนุษย์ในแต่ละสังคมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ไม่มีสังคมใดหยุดอยู่กับที่โดยแท้จริง 




อ่านเพิ่มเติม